จากการอบรมการใช้ข้อมูลจาก DataExchange ที่ได้รับจากรายงานระบบ HDC ในรูปแบบ Excel File ด้วยโปรแกรม Power Bi เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้มีความสะดวกในการใช้งาน และสามารถติดตามผลการดำเนินงานได้ในทุกพื้นที่ ซึ่งผลการใช้ Power Bi วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
จากการอบรมการใช้ข้อมูลจาก DataExchange ที่ได้รับจากรายงานระบบ HDC ในรูปแบบ Excel File ด้วยโปรแกรม Power Bi เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้มีความสะดวกในการใช้งาน และสามารถติดตามผลการดำเนินงานได้ในทุกพื้นที่ ซึ่งผลการใช้ Power Bi วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
วันที่ 16 มีนาคม 2561
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.ฉะเชิงเทรา เชิญ ทพญ.รรินทร หรินทรานนท์ ให้ความรู้เรื่อง “การแปรงฟัน” ณ ห้องบันทึกเสียง Sasook Padriew Health Studio
“แปรงฟัน” เป็นการทำความสะอาดช่องปากที่ทุกคนทำเป็นกิจวัตรประจำวัน ตั้งแต่เด็ก เข้าสู่วัยรุ่น โตเป็นผู้ใหญ่ และหลายๆ ท่านเข้าสู่วัยสูงอายุ แต่เคยสงสัยหรือไม่ว่า แปรงฟันทุกวันแล้วทำไม ฟันผุ มีเหงือกอักเสบ หรือพบรอยโรคในช่องปากอีก
เรามารู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธี และอุปกรณ์ช่วยในการทำความสะอาดช่องกันนะคะ
“จัดฟันแฟชั่น” เป็นการพยายามใส่เครื่องมือที่เลียนแบบการจัดฟันแบบติดแน่นที่ทันตแพทย์ใช้ในการรักษา มีจุดประสงค์ในการใส่เพื่อความสวยงามหรือความโก้เก๋ ทันสมัย แต่จะมีผลเสียตามมามากมาย เช่นเหงือกอักเสบ เป็นแผลในช่องปาก ได้รับสารอันตรายจากวัสดุที่ใช้ ติดเชื้อหรือโรคติดต่อจากความไม่สะอาด ฟันเคลื่อนที่ผิดตำแหน่งเนื่องจากแรงดึงที่ไม่ถูกต้อง
การจัดฟัน จำเป็นต้องใช้ทันตแพทย์ที่มีความรู้ ทำการรักษาอย่างต่อเนื่อง และได้รับการดูแลตลอดการรักษา จึงประสบผลสำเร็จ มีสุขภาพช่องปากที่ดี
วันที่ 21 สิงหาคม 2561
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.ฉะเชิงเทราเชิญ ทพญ.ชลธิชา อารมย์เสรี ทันตแพทย์ชำนาญการพิเศษผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงพยาบาลพุทธโสธร ให้ความรู้เรื่อง “ปากแหว่งเพดานโหว่” (Cleft lip and cleft palate)
ณ ห้องบันทึกเสียง Sasook Padriew Health Studio
โรคปากแหว่งเพดานโหว่เป็นความพิการแต่กำเนิดของศีรษะและใบหน้า สาเหตุไม่สามารถสรุปได้ชัดเจน เด็กกลุ่มนี้มีปัญหาในการดำรงชีวิตที่ซับซ้อนหลายอย่าง เช่น ปัญหาการดูดกลืนอาหารและสำลักได้ง่าย ปัญหาการเจริญเติบโตช้า ปัญหาการได้ยิน ปัญหาทางภาษาและการพูด ปัญหาฟันผิดปกติ
การรักษาภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ ต้องอาศัยความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพ เริ่มการรักษาตั้งแต่ทราบว่าเด็กมีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่ โดยมีวัตถุประสงค์ในการรักษาเพื่อให้เด็กมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งด้านโครงสร้างและการทำงานของอวัยวะต่างๆ มีการเจริญเติบโต จิตใจ และสังคมที่ดี
ตัวชี้วัดงานทันตสาธารณสุข ปี 2561
PA : เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (Cavity Free) ร้อยละ 54
ผลงาน 3 เดือน | ผลงาน 6 เดือน | ผลงาน 9 เดือน |
![]() |
![]() |
![]() |
SP : ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากใน รพ.สต./ศสม.
มีคุณภาพตามเกณฑ์ภายใต้การสนับสนุนของคณะกรรมการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอ หรือ Distric Health Broad (ร้อยละ 60)
ผลงาน 3 เดือน | ผลงาน 6 เดือน | ผลงาน 9 เดือน |
![]() |
![]() |
![]() |
SP : อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากของประชาชนในพื้นที่
(ร้อยละ 35)
ผลงาน 3 เดือน | ผลงาน 6 เดือน | ผลงาน 9 เดือน |
![]() |
![]() |
![]() |